ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« ตุลาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
   1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
รองประธานสปช. คนที่สองรับยื่นหนังสือจากเลขาธิการสภาการพยาบาล เรื่องข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสาธารณสุขไทย

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 23 ๏ฟฝ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันอังคารที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๓๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ รองศาสตราจารย์ทัศนา บุญทอง รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ คนที่สอง นางพรพันธุ์ บุุณยรัตพันธุ์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุขและนายประเสริฐ ศัลย์วิวรรธน์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ร่วมรับยื่นหนังสือจากผู้ช่วยศาสตราจารย์อังคณา สริยาภรณ์ เลขาธิการสภาการพยาบาล เรื่องข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสาธารณสุขไทย : กรณีผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยข้อเสนอแนวทางลดความเหลื่อมล้ำ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อสุขภาพประชาชน และผลิตภาพประเทศ การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในกรณีของผู้ประกอบการวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ นอกเหนือจากการเพิ่มการผลิตและพัฒนาการจัดการศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ และการกระจายกำลังคนเพื่อลดความขาดแคลน การแก้ไขปัญหาความขาดแคลนพยาบาลยังต้องแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำซึ่งเป็นรากเหง้าของปัญหาให้ครอบคุลมประเด็นสำคัญ คือ
๑. การได้รับสิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการ
๒. การกำหนดบันไดอาชีพที่เท่าเทียมกัน
๓. ยกเลิกกำหนดโครงสร้างที่เหลื่อมล้ำและกีดกันในวิชาชีพ
๔. การพิจารณาปรับอัตราค่าตอบแทนให้เป็นธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยทบทวนค่าตอบแทนเหมาจ่ายและค่าตอบแทนการปฏิบัติงานตามลักษณะพื้นที่
๕. ปฏิรูประบบบริหารจัดการให้พยาบาลได้ทำหน้าที่พยาบาลอย่างเต็มศักยภาพเพื่อคุณภาพการดูแลประชาชน
 
download download Download all images download