ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« ตุลาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
   1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
นายอลงกรณ์ พลบุตร เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภาปฏิรูปแห่งชาติ (วิปสปช.) แถลงข่าว

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 22 ๏ฟฝ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันพุธที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๐๘.๕๕ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง ชั้นล่าง อาคารรัฐสภา ๑ นายอลงกรณ์ พลบุตร เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภาปฏิรูปแห่งชาติ (วิปสปช.) แถลงถึงผลการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยว่า การประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ในวันที่ ๒ เป็นการพิจารณาภาค ๒  ผู้นำการเมืองที่ดีและระบบผู้แทนที่ดี มีจำนวน ๑๔๔ มาตรา  มีสมาชิกได้อภิปรายไปแล้วจำนวน ๓๙ คน และประธานกรรมาธิการจำนวน ๑๓ คน ซึ่งสมาชิกฯ ได้อภิปรายอย่างสร้างสรรค์ตรงไปตรงมาและเป็นไปตามแนวทางที่ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติได้วางไว้ และมีประเด็นที่สมาชิกอภิปรายและน่าเป็นห่วงคือ การออกแบบวิธีการเลือกตั้งที่อาจทำให้การเมืองอ่อนแอ ที่มาของนายกรัฐมนตรี ที่เปิดโอกาสให้คนนอกเข้ามาดำรงตำแหน่งได้ การกำหนดหน้าที่โครงสร้างระบบราชการมากเกินไปและแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ในประเด็นต่างๆเหล่านี้ หวังว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจะนำกลับไปทบทวน แก้ไขเพราะจะมีผลต่อการลงมติว่าจะผ่านหรือไม่ ส่วนภาค ๓ และภาค ๔ การแก้ไขเพิ่มเติม และบทเฉพาะกาลนั้น มีสมาชิกขออภิปรายดังนี้
-  ภาค ๓ หลักนิติธรรม ศาลและองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ จำนวน ๒๓ คน
- ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดองจำนวน ๙๗ คน และประธานกรรมาธิการจำนวน ๑๒ คน
- การแก้ไขเพิ่มเติม จำนวน ๑ คน
- บทเฉพาะกาล จำนวน ๖ คน
 
ทั้งนี้การอภิปรายจะแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้

 

download download Download all images download